นโยบายพลังงานปี 2568
การกำหนดนโยบายของกระทรวงพลังงาน จะยึดหลักสาคัญ 3 ด้าน ที่ต้องคำนึงควบคู่กัน เพื่อออกนโยบายที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
Security
ความมั่นคงทางพลังงาน : เป้าหมายลำดับแรก ของนโยบายพลังงานไทย
Economics พลังงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ : เป้าหมาย ฟันเฟืองสำคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
Sustainability พลังงานคาร์บอนต่ำ : เป้าหมายระดับโลกที่พลิกโฉมพลังงานไทย
5 นโยบายหลัก ประกอบด้วย
1. จัดหาแหล่งพลังงานใหม่ในประเทศ
สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมบนกรอบ 25
- คาดว่าจะมีปริมาณทรัพยากรน้ำมันดิบประมาณ 5.76 ล้านบาร์เรล และมีก๊าซธรรมชาติประมาณ 20.7 ล้านลูกบาศก์ฟุต
- คาดว่าจะมีเงินลงทุนในการสำรวจและพัฒนาปิโตรเลียมในประเทศไม่น้อยกว่า
73.75 ล้าน USD
สิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในทะเลกรอบ 26
- จาการสำรวจพบปิโตรเลียมในบริเวณข้างเคียงทะเลอันดามัน ที่มีการพบประมาณทรัพยากร ซึ่งทำให้อาจค้นพบประมาณทรัพยากรปิโตรเลียมในพื้นที่ของสิทธิจดสำรวจ
เขตพื้นที่ไหล่ทวีปคาบเกี่ยวไทย กับกัมพูชา (OCA)
- หาแนวทางความร่วมมือให้เกิดเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมเพื่อนำทรัพยากร
ปิโตรเลียมใช้ในอนาคต
2. ระบบพลังงานมีประสิทธิภาพยืดหยุ่นรองรับทุกรูปแบบพลังงาน
พัฒนาระบบสำรองน้ำมันเชื้อเพลิงและการตรวจสอบปริมาณสำรอง
พัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริด และโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานไฟฟ้า
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รองรับยานยนต์ไฟฟ้า
3. เสริมการลงทุนด้านพลังงาน เพิ่มขีดคามสามารถในการแข่งขันประเทศ
ประเทศไทยเตรียมเป็น Digital Hub ของอาเซียน โดยพบว่าโครงการ Data Center และ Cloud Service ขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอ รวม 46 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 167,989 ล้านบาท โดยมุ่งเน้นดำเนินนโยบาย “พลังงานสะอาด” เป็นหลัก
4. เตรียมเสนอมาตรการด้านพลังงานสีเขียวที่ครอบคลุมทั้ง กำรจัดหาและการใช้งาน
ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา
ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลลดปัญหาการเผาไหม้ชีวมวล ในที่โล่งแจ้ง
เพื่อลดปัญหา PM 2.5
5. สนับสนุนเทคโนโลยีพลังงานรูปแบบใหม่เพื่อรองรับ Energy Transition
เร่งดำเนินนโยบายส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานรูปแบบใหม่ ให้เกิดความคืบหน้าอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ